:: มีอะไรใหม่ใน HDC
  • ปรับระบบ Security ของ HDC เป็นระบบ https โดยผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานได้ตามปกติ ระบบจะดำเนินการปรับเปลี่ยนให้เอง
  • เพิ่มเมนูนำเข้า/ส่งออกข้อมูล >> ตรวจสอบ/แก้ไข พิกัดของสถานพยาบาล ซึ่งผู้ใช้จะตรวจสอบได้เฉพาะหน่วยงานของตนเองเท่านั้น(login identified office) ซึ่งมีคำแนะนำในการดำเนินการในหน้าเพจนั้นเลย
  • โปรแกรมอ่าน Smart Card v1 เดิม ไม่สามารถใช้งานกับ HDC https ได้ จำเป็นต้องปรับเป็นเวอร์ชั่นใหม่ v2
  • ขั้นตอนการใช้ Smart Card [https]
    - ติดตั้ง โปรแกรมอ่าน Smart Card Agent ดาวน์โหลด Click ที่นี่
    - อัพเดทโปรแกรมอ่าน Smart Card Agent ล่าสุด ดาวน์โหลด Click ที่นี่พร้อม reboot เครื่องคอมพิวเตอร์
    - หากไม่มี java runtime ในเครื่อง สามารถ Download ได้จากการคลิก link นี้
    - ต่อเครื่องอ่าน Smart Card ไว้กับคอมพิวเตอร์ก่อนเปิดครื่องเสมอ
  • สำหรับการใช้ Smart Card https ครั้งแรก
    - เปิด Browser เช่น Chrome ,Firefox ... แล้วเรียก https://localhost:8443/smartcard/data/
    - ทำตามขั้นตอนในรูปภาพนี้สำหรับ Chrome และ firefox
  • หลังจากนั้นทำตามขั้นตอนปกติของการใช้ Smart card ใน HDC ก่อนหน้านี้ได้เลย
    เพิ่มรายงานกลุ่มส่งเสริมป้องกัน -> ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต จำนวน 12 รายงาน
  • การคัดกรองความเครียด(ST-5)ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง
  • การคัดกรองความเครียด(ST-5)ในหญิงตั้งครรภ์
  • การคัดกรองความเครียด(ST-5)ในกลุ่มผู้สูงอายุ
  • การคัดกรองโรคซึมเศร้า (2Q) ในผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง
  • การคัดกรองโรคซึมเศร้า (2Q) ในหญิงตั้งครรภ์
  • การคัดกรองโรคซึมเศร้า (2Q) ในผู้สูงอายุ
  • การประเมินโรคซึมเศร้า (9Q) กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  • การประเมินโรคซึมเศร้า (9Q) ในหญิงตั้งครรภ์
  • การประเมินโรคซึมเศร้า (9Q) ในกลุ่มผู้สูงอายุ
  • การประเมินการฆ่าตัวตาย (8Q) ในประชากรที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง
  • การประเมินการฆ่าตัวตาย (8Q) ในหญิงตั้งครรภ์
  • การประเมินการฆ่าตัวตาย (8Q) ในกลุ่มผู้สูงอายุ
  • เพิ่ม Data-Exchange รายงาน
  • ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก
  • ร้อยละเด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก
  • ปรับปรุง/เพิ่มรายงานการส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพ 4 สาขา
    เพิ่ม GIS ในเมนูรายงานต่างๆหลายรายงาน
  • ปรับปรุงรายงาน Service Plan RDU จากตารางรหัสเดิมที่ได้รับการสนับสนุนจากเขตสุขภาพที่ 10 และได้รับข้อมูลรายละเอียดของรหัสยาเพิ่มเติมเรื่อง Dosage Form จาก ภญ.ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง กบรส. ซึ่ง รหัสยา 24 หลักแบ่งออกเป็น ประเภทของยา, ชื่อเคมี, ความแรง, Dosage form และเจ้าของทะเบียนยาตามภาพ ดังนั้นยาที่รหัสชื่อเคมีเดียวกัน แตกต่างความแรง หรือ Dosage form ก็ย่อมอยู่กลุ่มยาประเภทเดียวกัน
    ตัวอย่าง Dosage form เช่น ยาประเภท INJECTION,TAB,CAPSULE ...
  • ปรับระบบการแสดงผลแบบ Tree view ในเมนูรายงาน เช่น รายงานตัวชี้วัดที่ 19,26
  • ปรับระบบการแสดงผลรายงานแบบ แผนที่ GIS Map ในรายงานต่าง เช่น รายงานวัคซีน รายงาน อนามัยแม่และเด็ก เป็นต้น
  • ปรับรายงาน Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD DM,HT,CVD)
    - ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยลดค่าข้อมูล BSLEVEL ที่จะนับผลงานว่าบุคคลที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน จาก BSLEVEL >= 70 เป็น BSLEVEL >= 50
  • เพิ่ม Data Exchange รายงาน Service Plan RDU >> การชะลอความเสื่อมของไต ผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr
  • เพิ่ม/ปรับปรุง รายงาน Service Plan RDU โดยได้รับความอนุเคราะห์ ตารางรหัสยา และ Script การประมวลผลจากทีมงานเภสัชกรและ IT ทีเป็นคณะทำงาน RDU เขตสุขภาพที่ 10 พร้อม Data Exchange ทุกรายงานในกลุ่มนี้
    - ร้อยละรายการยาที่สั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
    - ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ระดับโรงพยาบาล (RI)
    - ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ระดับโรงพยาบาล (AD)
    - ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ระดับโรงพยาบาล (FTW)
    - ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ระดับโรงพยาบาล (APL)
    - ร้อยละของผู้ป่วยความดันสูง (Essential hypertension) ที่ใช้ RAS blockade (ACEI/ ARB/ Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกันในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง
    - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ glibenclamide ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปีหรือมี eGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร
    - ร้อยละของผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้
    - ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน
    - ร้อยละของผู้ป่วยนอกโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับยา NSAIDs
    - ร้อยละของผู้ป่วยนอกโรคหืดที่ได้รับยา inhaled corticosteroid
    - ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุที่ใช้ยากลุ่ม long-acting benzodiazepine ได้แก่ chlordiazepoxide, diazepam, dipotassium chlorazepate
    - จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ยา Warfarin หรือ Statins หรือ Ergots เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว
    - ร้อยละครั้งบริการ (visit) ผู้ป่วยเด็ก ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อของทางเดินหายใจ และได้รับยาต้านฮิสตามีนชนิด non-sedating
    - ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ระดับ รพ.สต.(RI - PCU)
    - ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ระดับ รพ.สต. (AD - PCU)
    - ร้อยละของรพ.สต.ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค (RUA PCU)
    เพิ่ม/ปรับปรุง ดังนี้
  • รายงานสุขภาพจิต
    - ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ(workload)
    - ผู้ป่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการ(workload)
    - ผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการ(workload)
    - ผู้ป่วยโรคออทิสติกเข้าถึงบริการ(workload)
  • อนามัยแม่และเด็ก
    - ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
    - ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
    - รายงานผลการดำเนินการการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ specialpp
    - ทารกแรกเกิดที่ขาดออกซิเจน Apgar Score ต่ำกว่า 7 ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ DSPM
    - ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ DSPM
    - ทารกคลอดมีชีพในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ DSPM
    - ทารกที่มารดาเข้าร่วมโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ DSPM
  • Service Plan สาขายาเสพติด
    - การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัย ยาเสพติด การป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วัณโรคและไวรัสตับอักเสบบีและซี
    - การบำบัดรักษายาเสพติดโดยใช้สารทดแทนระยะยาว MMT/การจัดให้มีบริการป้องกันและดูแลรักษาอาการจากการใช้ยาเสพติดเกินขนาดในพื้นที่ เช่น การให้บริการ Naloxone
    - การให้คำปรึกษา และ/หรือ ตรวจการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ และ/หรือ ส่งต่อเข้ารับบริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส
    - การให้คำปรึกษา ตรวจหา และส่งต่อเข้ารับบริการดูแลรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซี
    - การสนับสนุนให้ใช้ถุงยางอนามัย อย่างถูกวิธี
    - การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และ/หรือ รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    - การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และรักษาวัณโรค
    - การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และ/หรือ รักษาโรคทางจิตเวช
  • Service Plan สาขาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
    - อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(ผู้ป่วยอายุ 40 ปีขึ้นไป)
  • ปรับตัวชี้วัด ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี จากตัวหารเดิมคือ เด็ก 0-5 ปีทั้งหมด เป็นหารด้วย เด็ก 0-5 ปีที่ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ตามที่ สำนักโภชนาการกรมอนามัย ส่ง Template มาใหม่

  • ปรับข้อมูล Data Exchange ที่สอดคล้องกับระบบรายงาน ให้สามารถดูผ่านเมนูของหน้ารายงานนั้นๆได้เลย เช่น อนามัยแม่และเด็ก >> คัดกรองพัฒนาการเด็ก , ServicePlan ต่างๆ เป็นต้น ส่วนทะเบียนต่างๆ ยังอยู่ในเมนู Data Exchange ปกติ

  • ปรับตัวชี้วัดร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ตามเล่มตัวชี้วัด กยผ. (เพิ่มจำนวนเด็ก 0-5 ปีเป็นเป้าหมาย ) พร้อมดูอัตราการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง